วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

การใช้ Google Scholar; Google Goggles; MetaSearch engine

Google Scholar 

     Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง สามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว
  • บทความ 
  • peer-reviewed 
  • วิทยานิพนธ์ 
  • หนังสือ 
  • บทคัดย่อ 
  • บทความจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวิชาชีพ ที่เก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษาอื่นๆ 
Google Scholar ช่วยให้สามารถระบุการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องมากที่สุดในโลกแห่งการค้นคว้า วิจัยทางวิชาการ
    คุณลักษณะของ Google Scholar
  • ค้นหา แหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากจุดที่สะดวกจุดเดียว
  • ค้นหา บทความ บทคัดย่อ และการอ้างอิง
  • ค้นหาตำแหน่ง ของบทความฉบับสมบูรณ์จากทั่วทั้งห้องสมุดของคุณหรือบนเว็บ
  • เรียนรู้ เกี่ยวกับบทความสำคัญในการค้นคว้าวิจัยสาขาใดๆ


Google Goggles

     คือ ค้นหาข้อมูลจากภาพในเครื่องแอนดรอยด์ คือการเอากล้องในเครื่องแอนดรอยด์ไปส่องที่วัตถุ หรือสถานที่ที่อยากรู้ข้อมูลเพิ่มเติม ระบบจะทำการค้นหาข้อมูลรายละเอียดสิ่งที่เราอยากทราบให้อัตโนมัติ       โดยหลักๆแล้วสามารถค้นหาได้ 7 หมวดในตอนนี้
  • ภาพสถานที่ท่องเที่ยว
  • รายชื่อและเบอร์ติดต่อ
  • งานศิลป์ดังๆ
  • ภาพสถานที่ต่างๆ
  • ไวน์
  • โลโก้สินค้า
  • ปกหนังสือ
     หลักการการทำงานของ  Google Goggles คือเมื่อถ่ายภาพเสร็จข้อมูลภาพนั้นจะถูกส่งไปเปรียบเทียบกับข้อมูลใน Server ว่าแมทซ์กับข้อมูลใดแล้วจะส่งข้อมูลนั้นกลับมาให้ทราบ

MetaSearch engine

  •  คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษาHTML ซึ่งมีการประกาศชุดคำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML 
  •  เช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อ 
  •  ผลการค้นหาของ Meta Search Engine มักไม่แม่นยำ เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อกของตนเองและอีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร
     

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น