1 สิงหาคม 2554
เวลา 15.30-18.30 น. HB 5330
วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
โปรแกรมค้นหาแบบนามานุกรม (Subject Directory Searh Engines)
การจัดทำนามานุกรม
- ใช้คนทำการตรวจสอบ คัดเลือก และเปิดให้ผู้จัดทำเว็บเพจแจ้งลงทะเบียน
- ผู้ตรวจสอบจะประเมินและเลือกจัดเก็บเฉพาะเว็บเพจที่เห็นว่ามีความน่าเชื่อถือเท่านั้นและจะจัดทำรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาโดยสรุปของเอกสาร ทำให้มีฐานข้อมูลจำนวนไม่มาก
- Yahoo มีฐานข้อมูลประมาณ 2 ล้านเว็บไซต์
- LookSmart มีฐานข้อมูลประมาณ 2.5 ล้านเว็บไซต์ (2008)
- รูปแบบการค้นจะทำการค้นดรรชนีคำศัพท์จากส่วน ชื่เรื่อง และรายละเอียดที่สรุปเกี่ยวกับเนื้อหาของเว็บเพจเท่านั้น จึงทำให้ผลการค้นคืนตรงต่อความต้องการของผู้ใช้มากกว่า Index Search Engine
- ไม่มีการปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับเว็บเพจ การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของเว็บเพจหรือปรับปรุงเนื้อหาใหม่ของผู้จัดทำเว็บเพจในแต่ละครั้งจะไม่กระทบกับฐานข้อมูล เพราะส่วนอธิบายเนื้อหาโดยรวมก็จะคงอยู่เช่นเดิม และไม่ต้องมาปรับดรรชนีคำใหม่
- แบ่งเนื้อหาออกเป็นกลุ่มๆ และมีการแบ่งย่อยลึกไปเรื่อยๆเป็นลำดับชั้นตามลำดัีบในแต่ละกลุ่มแบบเดียวกับระบบการจัดหมู่ห้องสมุด
- มีการแจ้งจำนวนเว็บเพจที่มีการจัดเก็บในแต่ละหัวเรื่องให้ทราบอยู่ตลอดเวลา
วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
การใช้ Google Scholar; Google Goggles; MetaSearch engine
Google Scholar
Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง สามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว
คุณลักษณะของ Google Scholar
Google Goggles
คือ ค้นหาข้อมูลจากภาพในเครื่องแอนดรอยด์ คือการเอากล้องในเครื่องแอนดรอยด์ไปส่องที่วัตถุ หรือสถานที่ที่อยากรู้ข้อมูลเพิ่มเติม ระบบจะทำการค้นหาข้อมูลรายละเอียดสิ่งที่เราอยากทราบให้อัตโนมัติ โดยหลักๆแล้วสามารถค้นหาได้ 7 หมวดในตอนนี้
MetaSearch engine
Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง สามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว
- บทความ
- peer-reviewed
- วิทยานิพนธ์
- หนังสือ
- บทคัดย่อ
- บทความจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวิชาชีพ ที่เก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษาอื่นๆ
คุณลักษณะของ Google Scholar
- ค้นหา แหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากจุดที่สะดวกจุดเดียว
- ค้นหา บทความ บทคัดย่อ และการอ้างอิง
- ค้นหาตำแหน่ง ของบทความฉบับสมบูรณ์จากทั่วทั้งห้องสมุดของคุณหรือบนเว็บ
- เรียนรู้ เกี่ยวกับบทความสำคัญในการค้นคว้าวิจัยสาขาใดๆ
Google Goggles
คือ ค้นหาข้อมูลจากภาพในเครื่องแอนดรอยด์ คือการเอากล้องในเครื่องแอนดรอยด์ไปส่องที่วัตถุ หรือสถานที่ที่อยากรู้ข้อมูลเพิ่มเติม ระบบจะทำการค้นหาข้อมูลรายละเอียดสิ่งที่เราอยากทราบให้อัตโนมัติ โดยหลักๆแล้วสามารถค้นหาได้ 7 หมวดในตอนนี้
- ภาพสถานที่ท่องเที่ยว
- รายชื่อและเบอร์ติดต่อ
- งานศิลป์ดังๆ
- ภาพสถานที่ต่างๆ
- ไวน์
- โลโก้สินค้า
- ปกหนังสือ
MetaSearch engine
- คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษาHTML ซึ่งมีการประกาศชุดคำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML
- เช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อ
- ผลการค้นหาของ Meta Search Engine มักไม่แม่นยำ เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อกของตนเองและอีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร
วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ทดสอบครั้งที่1 : Venn Diagram Boolean
การทดสอบครั้งที่ 1 โดยให้กำหนดบริเวณของข้อมูลที่จะได้จาก การกำหนดรูปแบบการค้นโดยใช้ Boolean ข้อสอบมีทั้งหมด 7
การจำกัดคำค้น (Search Limits)
การจำกัดคำค้น เป็นการสืบค้นที่สามารถจำกัดรูปแบบ ประเภท ภาษา ภูมิภาค และวันเวลาที่แสดง
ของข้อมูลที่ต้องการได้
- ทำให้ได้ผลค้นที่จำเพาะเจาะจงมาขึ้นและจำนวนน้อยลง
ประกอบด้วย
Basic search
เป็นการค้นที่สามารถพบได้ในหน้าแรกของการค้นหา ซึ่งจะมี field search ให้เลือก
ใช้ตามความต้องการ
เช่น key word, subject heading และ medical เป็นต้นและยังสามารถใช้ AND OR NOT เพื่อช่วยในการค้นได้อีกด้วย
สำหรับ Google นั้นสามารถพิมพ์ allintittle:____________ เพื่อช่วยค้นได้ทันที
Advance search
ช่วยผู้ค้นให้สามารถค้นข้อมูลทีต้องการได้มากขึ้น โดยจะมีคำว่า Any field และสามารถช่วยเติมoperator ให้เพื่อให้สามารถอธิบายการค้นได้ชัดเจนขึ้น มักปรากฏคำว่า search and sort หรือ sorted by relevance
เช่น
(cause) and (earthquake)
t: (earthquake) and t: (effect)
สำหรับ Google นั้นสามารถพิมพ์ allintittle:_______ filetyp:_____ เพื่อช่วยค้นได้ทันที
การกำหนดค้นโดยใช้ตัวดำเนินการ (Operators)
การใช้ตัวดำเนินการในการเชื่อมโยงคำสำคัญ ตัวดำเนินการจะเป็นคำ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการเชื่อมระหว่างคำสำคัญที่กำหนด เพื่อใช้ในการแจ้งโปรแกรมฐานข้อมูลให้เข้าใจความต้องการในการค้น เพื่อให้ได้ผลค้นที่มีเนื้อหาตรงตามความต้องการ
ตัวดำเนินการ ประกอบด้วย
คือ การใช้เครื่องหมายกำกับในการเชื่อมคำสำคัญ ได้แก่
ตัวดำเนินการ ประกอบด้วย
- บูลีน (Boolean)
- การกำหนดระยะ (Proximity)
- การกำหนดใช้เครื่องหมายในการควบคุมการค้น
คือ การใช้เครื่องหมายกำกับในการเชื่อมคำสำคัญ ได้แก่
- AND คำทั้งหมดที่กำหนดต้องปรากฎในเอกสาร เพราะ จะค้นหาทุก
ฐานข้อมูล และทุกๆ field และมักใช้คำเชื่อมที่มีความหมายไม่เหมือนกัน
- OR ผลการค้นจะปรากฎเยอะกว่า AND เพราะจะค้นหาจากทุกๆ คำ
- NOT ใช้เมื่อต้องการตัดคำที่ไม่ต้องการออก
2. ตัวกำกับระยะ และการค้นแบบวลี(Proximity and Phrase search)
ประกอบด้วย
- NEAR หมายถึง คำทั้งสองคำต้องอยู่ในระยะที่กำหนด ซึ่งโดยฐานข้อมูลทั่วไป
กำหนดไม่เกิน 10 คำ และสำหรับ Google นั้นกำหนดไว้ 20 คำ
- WITH/ WITHIN อนุญาตให้ผู้ใช้กำหนดจำนวนคำสูงสุด
- ADJACENT จะไม่อนุญาตให้กลับคำหน้าหลัง โดยคำสองคำจะต้องอยู่ติดกัน
เท่านั้น และเรียงลำดับตามที่กำหนด
3.การค้นแบบวลี
- จะปรากฎคำใกล้เคียงตามที่กำหนด แต่จะอยู่ก่อนหรือหลังก็ได้ ตาม ลำดับที่กำหนด
บางครั้งจะมีคำ Stop word
- จะใช้เครื่องหมายคำพูด "..." และ วงเล็บ (...)
- เมื่อค้นประโยคที่เป็นข้อความ เช่นใน Google นั้น จะปรากฎตัวอักษรสีแดง
- จะแสดงผลการค้นเสมอ
การกำหนดคำสำคัญ (Keyword)
คือ การกำหนดค้นจากคำที่เห็นว่าควรจะปรากฏในเอกสาร เช่น ในส่วนชื่อเรื่อง คำอธิบายเนื้อหา สาระสังเขป หรือในส่วนเนื้อหาของเอกสาร
การกำหนดการค้นคำสำคัญ
วิธีการกำหนดคำค้นและกำหนดหนดเนื้อหาหลัก ก่อน
การกำหนดการค้นคำสำคัญ
- กำหนดคำสำคัญเรื่องที่จะค้น
- เรียงลำดับความสำคัญของคำสำคัญ
- หาคำเหมือน คำที่มีความหมายข้างเคียง สัมพันธ์กัน
- กำหนดรูปแบบการค้นที่ต้องการ
- ตรวจสอบตัวสะกด
วิธีการกำหนดคำค้นและกำหนดหนดเนื้อหาหลัก ก่อน
- ให้ดูจากคำเรียก ชื่อเรียก สาขาวิชา และสถานที่ภูมิศาสตร์ โดยตัดคำเชื่อม คำบุพบท คำขยายความออก
- ใช้คำที่เฉพาะ เจาะจงกว่า
- ใช้คำที่แนะนำ จากการสืบค้น เช่น การสืบค้นโดย google อาจมีคำสัมพันธ์ให้เลือกเนื้อหาที่ใกล้เคียงกัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)